000 03756nab a22002297a 4500
008 230111b2019 t|||| |||| 00| 0 tha d
012 _aJournal
040 _aPBRU
090 _aINDEX
100 0 _aวนิสา หะยีเซะ
_924694
245 1 0 _aผลของโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในการดูแลและติดตามทารกเกิดก่อนกำหนดหลังจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล /
_cวนิสา หะยีเซะ
520 _aทารกเกิดก่อนกำหนดเป็นทารกที่มารดาคลอดก่อนอายุครรภ์ 37 สัปดาห์ ซึ่งโดยมากจะมีน้ำหนักตัวแรกเกิดน้อยกว่า 2,500 กรัม ทั้งนี้ทารกคลอดที่มีอายุครรภ์ยิ่งน้อยจะยิ่งมีน้ำหนักแรกคลอดน้อยลงและยิ่งเพิ่มความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตหรือความพิการมากขึ้น การดูแลทารกเกิดก่อนกำหนดให้ได้รับการตอบสนอง ความต้องการพื้นฐานที่ดีและเหมาะสมนั้น ย่อมส่งผลให้ทารกมีพัฒนาการและการเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพที่ดีในอนาคต ซึ่งนับว่าเป็นความท้าทายของระบบสาธารณสุขที่ต้องดูแลและจัดการเนื่องจากสภาพสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงทกให้บทบาทการเลี้ยงดูทารก ความสนใจ และเอาใจใส่ทารกลดลง เห็นได้จากรัฐบาลได้เล็งเห็นความสำคัญของประชากรวัยทารกที่เป็นรากฐานในการพัฒนาประเทศ โดยเน้นให้ทารกมีพัฒนาการที่สมวัยซึ่งจะมีผลต่อระดับความฉลาดทางสติปัญญาและอารมณ์ในอนาคต
650 4 _aอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
_xทารกเกิดก่อนกำหนด
_944824
655 4 _aโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้
_944825
700 0 _aธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์
_924697
700 0 _aวิมลวรรณ ดำคล้าย
_944826
700 0 _aนุจรี ไชยมงคล
_924693
773 0 _gปีที่ 27 ฉบับที่ 2 (เมษายน-มิถุนายน 2562) หน้า 30-39
_tคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
_x0858-4338
856 4 _3บทความฉบับเต็มภาษาไทย
_uhttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/Nubuu/article/view/212193/147164
910 _a20230111
942 _cSERIALS
999 _c25096
_d25096