000 03250nab a22002057a 4500
008 231116b2023 |||q|||| |||| 00| 0 tha d
012 _aJournal
040 _aPBRU
090 _aINDEX
100 0 _aกิติรัตน์ สุวรรณรงค์
_948578
245 1 0 _aปัจจัยทำนายพฤติกรรมข่มเหงรังแกผู้อื่นในเด็กวัยเรียนตอนปลาย
_cกิติรัตน์ สุวรรณรงค์, ยุนี พงศ์จตุรวิทย์ และ นุจรี ไชยมงคล
520 _aการข่มเหงรังแก หรือ การกลั่นแกล้ง คือ การใช้กำลัง, การข่มขู่, การล้อเลียนให้เจ็บปวด, หรือการคุกคาม โดยผู้กระทำมีเป้าหมายเพื่อ กระทำทารุณ, ครอบงำ, หรือขู่ผู้ถูกกระทำให้ยอมจำนน พฤติกรรมเช่นนี้มักเกิดขึ้นซ้ำๆ เป็นกิจวัตร การข่มเหงรังแกกับความขัดแย้งอื่นๆ มีความแตกต่างสำคัญอยู่ที่การที่ฝ่ายหนึ่งมีอำนาจเหนือกว่าอีกฝ่ายหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็นอำนาจทางกายภาพหรืออำนาจทางสังคม และไม่ว่าจะเป็นอำนาจที่มีอยู่จริงหรือเป็นอำนาจที่มีเฉพาะในความรับรู้ของผู้กระทำและคนอื่นๆ ก็ตามกล่าวอีกอย่างคือ การข่มเหงรังแกเป็นพฤติกรรมก้าวร้าวชนิดหนึ่ง มีลักษณะเฉพาะคือต้องมีองค์ประกอบ 3 ข้อ ได้แก่ มีเจตนาก้าวร้าว, เกิดขึ้นระหว่างคู่ขัดแย้งที่ฝ่ายกระทำมีอำนาจเหนือกว่า, และมีการทำซ้ำๆ ต่อเนื่องเป็นระยะเวลาหนึ่ง
650 4 _aพฤติกรรมข่มเหงรังแก
_948579
700 0 _aยุนี พงศ์จตุรวิทย์
_924692
700 0 _aนุจรี ไชยมงคล
_924693
773 0 _gปีที่ 30 ฉบับที่ 4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2565) หน้า 13-25
_tคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
_x0858-4338
856 4 _3บทความฉบับเต็มภาษาไทย
_uhttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/Nubuu/article/view/258011/177637
910 _a20231116
942 _cSERIALS
999 _c26756
_d26756