000 04121nab a2200277 4500
001 vtls000000286
003 VRT
005 20231003150202.0
008 120521 1999 th gr 0 0tha d
012 _aJournal
035 _a0000-28760
039 9 _a201312191117
_bVLOAD
_c201207042111
_dVLOAD
_y201205211706
_zVLOAD
040 _aPBRU
090 _aINDEX
100 0 _aวัฒนา จารณศรี.
_9966
245 1 0 _aโรคขี้เรื้อนของสุนัข /
_cวัฒนา จารณศรี
520 _aขี้เรื้อน เป็นโรคผิวหนัง แบบเรื้อรัง ซึ่งเกิดจาก "ไรขี้เรื้อน" ที่มีขนาดเล็กมาก ไรดังกล่าว อาจจะอาศัย อยู่บน และ ในผิวหนังของสุนัข ขี้เรื้อนชนิดที่พบว่า มีการแพร่ระบาด อยู่ทั่วไปบนสุนัข ในประเทศไทย แบ่งออกได้ 3ประเภท คือ 1.ขี้เรื้อน ชนิด sarcoptic 2.ขี้เรื้อนชนิด demodectic หรือ follicular mange/red mange/demodicosis (มีต่อ)
520 _a3. ขี้เรื้อนที่เกิดจากไรชนิด cheyletiellฟ parasitovorax [Megnin] การป้องกัน โรคขี้เรื้อน ในสุนัข ขี้เรื้อน ส่วนใหญ่ จะติดต่อ โดยการสัมผัสโดยตรง กับสัตว์ป่วย ดังนั้นควรระวังสุนัขปกติ ไม่ให้สัมผัส กับสุนัขที่ป่วย เป็นโรคเรื้อน หรือเลี้ยงรวมกับ สุนัขที่ป่วยเป็นโรคนี้ ควรแยกสุนัขที่ป่วย ออกจากสุนัขปกติ และทำการรักษาให้หาย (มีต่อ)
520 _aการป้องกัน ไม่ให้สุนัข ป่วยเป็นขี้เรื้อน นอกจาก จะใช้หลักการสุขาภิบาล ที่ดีแล้ว ควรเลี้ยงสุนัข ด้วยอาหารที่ดี มีคุณภาพ และให้วิตามินเสริม เพื่อบำรุงผิวหนัง การอาบน้ำสุนัข ควรทำสัปดาห์ละครั้ง การอาบน้ำมากเกินไป ตลอดจน การใช้สบู่ แชมพู ไม่ถูกต้อง อาจทำให้สุนัข เป็นโรคเรื้อนได้ (มีต่อ)
520 _aการรักษา เมื่อพบว่าสุนัขเป็นโรคเรื้อน ให้รีบพาไปพบสัตวแพทย์ เพื่อจะได้ ตรวจสอบวินิฉัย ชนิดของโรคเรื้อน และให้การบำบัดรักษา ให้ถูกต้อง เมื่อได้รับ การบำบัดรักษา ตามคำแนะนำ ของสัตวแพทย์ จนหายขาดแล้ว ต้องดูแล ป้องกันไม่ให้ สุนัขติด ไรขี้เรื้อนอีก
650 4 _aสุนัข
_xโรค.
_9967
650 4 _aโรคขี้เรื้อน
_xสุนัข.
_9968
650 4 _aSCI-TECH.
_9345
773 0 _tกีฏและสัตววิทยา
_gปีที่ 21 ฉบับที่ 1(มกราคม -มีนาคม 2542) หน้า 64 - 66
_x0125-3794
942 _cSERIALS
999 _c286
_d286