000 04514 ab a2200265 4500
001 vtls000003044
003 VRT
005 20231003151239.0
008 120521 2001 th mr 0 0tha d
012 _aJournal
035 _a0008-21160
039 9 _a201312191158
_bVLOAD
_c201207042155
_dVLOAD
_y201205211727
_zVLOAD
040 _aPBRU
090 _aINDEX
100 0 _aวิทวัส วัณนาวิบูล.
_93693
245 1 0 _aยาสมุนไพรจีนบำรุงยิน /
_cวิทวัส วัณนาวิบูล
520 _aภาวะขาดน้ำในร่างกาย เช่น เสียเหงื่อมาก มีไข้สูงเรื้อรัง ท้องเสีย ภาวะเช่นนี้จะทำให้เกิดภาวะน้ำแห้งภายในร่างกาย เนื่องจากสูญเสียน้ำ อาจเป็นระยะแรกของยินพร่อง มักมีอาการที่ปอด กระเพาะอาหาร ระยะหลังของยินพร่องมักมีภาวะร้อนอาการจะแสดงออกที่หัวใจ ตับ และไต สาเหตุที่ทำให้ยินพร่องเกิดได้จากกรรมพันธุ์ (มีต่อ)ล
520 _aยาบำรุงยินตามแพทย์แผนจีนที่รู้จักกันทั่วไปและสามารถนำมารักษาโรค ได้แก่ ซาเซิน เป็นสมุนไพรจีนที่นำเอาส่วนรากมาทำเป็นยา สรรพคุณให้ความชุ่มชื้นกับปอด แก้ไอแห้ง บำรุงกระเพาะอาหาร ช่วยสร้างน้ำย่อย ม่ายตงเป็นสมุนไพรจีนที่นำเอาส่วนรากมาทำเป็นยา สรรพคุณ คือ บำรุงปอด กระเพาะอาหาร และหัวใจ (มีต่อ)
520 _aเทียนตงเป็นสมุนไพรจีนที่นำส่วนรากมาทำเป็นยา สรรพคุณคือ บำรุงยินของปอด ช่วยลดกระหายน้ำ อวี้จู๋ เป็นสมุนไพรจีนที่นำส่วนของหัวใต้ดินมาทำเป็นยา สรรพคุณคือบำรุงยินของปอด บำรุงยินของกระเพาะอาหาร โกว่ฉีจื่อ เป็นสมุนไพรจีนที่ใช้ส่วนผสมมาทำเป็นยา สรรพคุณ คือ บำรุงยิน บำรุงเลือด บำรุงสายตา กุยป่านหรือกระดองเต่า เป็นสมุนไพรจีนที่นำกระดองมาทำเป็นยา สรรพคุณ (มีต่อ)
520 _aคือ บำรุงยิน ลดหยาง บำรุงไต เสริมกระดูก บำรุงเลือดและหัวใจ เปี๋ยเจียะ หรือกระดองตะพาบน้ำ เป็นสมุนไพรจีนที่ใช้ส่วนกระดองมาทำเป็นยา สรรพคุณ คือ บำรุงยิน ลดหยาง กระจายก้อนเนื้ออ่อนนุ่ม สมุนไพรจีนที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ล้วนมีประโยชน์ในการนำไปเป็นยารักษาโรค แต่ควรนำไปใช้อย่างระมัดระวัง โดยประกอบกับยาอื่นที่เหมาะสม
650 4 _aสมุนไพร.
_9866
650 4 _aยาสมุนไพร.
_91112
773 0 _tหมอชาวบ้าน
_gปีที่ 23 ฉบับที่ 266 (มิถุนายน 2544) หน้า 28-30
_x0125-2275
942 _cSERIALS
999 _c3044
_d3044