000 04165 ab a2200277 4500
001 vtls000003483
003 VRT
005 20231003151420.0
008 120521 1999 th tr 0 0tha d
012 _aJournal
035 _a0008-65160
039 9 _a201312191205
_bVLOAD
_c201207042202
_dVLOAD
_y201205211731
_zVLOAD
040 _aPBRU
090 _aINDEX
100 0 _aพรชัย สนะฟี.
_95192
245 1 0 _aโครงสร้างป้องกันไฟสำหรับอาคารโรงงาน /
_cพรชัย สนะฟี
520 _aเป้าหมายหลักของการจัดการภายในโรงงานก็คือ การจัดการให้กระบวนการผลิตดำเนินไปได้อย่างต่อเนื่อง ลดเหตุการณ์ร้ายแรงที่จะมีผลกระทบต่อกระบวนการผลิตให้น้อยลง การสูญเสียเวลาในกระบวนการผลิตนานเท่าไร ผลกำไรของกิจการก็จะลดลงตามเวลาที่เสียไป สิ่งหนึ่งที่จะมีผลกระทบร้ายแรงต่อการประกอบกิจการโรงงานก็คือ (มีต่อ)
520 _aการเกิดอัคคีภัยในโรงงาน ฉะนั้นสิ่งที่ผู้ประกอบการโรงงานหรือวิศวกรและสถาปนิกผู้ออกแบบโรงงานจะต้องคำนึงถึงในเรื่องของความปลอดภัยเพื่อป้องกันอันตรายจากอัคคีภัยเพิ่มเติมจากการติดตั้งอุปกรณ์ระงับอัคคีภัยแล้ว การออกแบบอาคารโรงงานเป็นสิ่งที่จะต้องคำนึงถึงในเบื้องต้นเพื่อรักษาสภาพของโครงสร้างอาคารไว้ให้ได้นานที่สุด (มีต่อ)
520 _aโดยมีหลักการที่สำคัญสามแนวทางคือ อันดับแรกโครงสร้างของอาคารในส่วนที่เป็นโครงสร้างเหล็กควรจะพ่นทับด้วยวัสดุป้องกันไฟได้ ขั้นที่สองจะต้องกำหนดตำแหน่งและกลุ่มของช่องระบายอากาศมากน้อยตามโอกาส หรือความเสี่ยงของการเกิดอัคคีภัยในแต่ละพื้นที่ของอาคาร (มีต่อ)
520 _aขั้นที่สาม จะต้องแบ่งกั้นส่วนของโครงหลังคาด้วยแผ่นกันไฟในทุกๆ 3-4 ช่วง ช่วงของโครงหลังคา เพื่อป้องกันการกระจายของไฟไปยังส่วนอื่นๆ ของอาคารโดยช่วงระยะของแผ่นกันไฟไม่ควรห่างเกินกว่า 50 เมตร
650 4 _aSCI-TECH.
_9345
650 4 _aความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม.
_91020
650 4 _aโรงงาน
_xอัคคีภัยและการป้องกันอัคคีภัย.
_95193
773 0 _tโรงงาน
_gปีที่ 17 ฉบับที่ 3 (มิถุนายน - กันยายน 2542) หน้า 49-51
_x0125-6890
942 _cSERIALS
999 _c3483
_d3483