000 03864nab a2200241 4500
001 vtls000000442
003 VRT
005 20231003150246.0
008 120521 1999 th qr 0 0tha d
012 _aJournal
035 _a0000-44360
039 9 _a201312191120
_bVLOAD
_c201207042114
_dVLOAD
_y201205211707
_zVLOAD
040 _aPBRU
090 _aINDEX
245 0 0 _aผลของความเค็มระดับต่างๆ ต่อการเจริญเติบโต การเปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยา และเนื้อเยื่อวิทยาของปลากดเหลือง /
_cวุฒิพร พรหมขุนทอง ... [และคนอื่นๆ]
520 _aทดลองเลี้ยงปลากดเหลืองขนาดปลานิ้ว ในน้ำที่มีความเค็มต่างๆ กัน 6 ระดับ คือ 0,3,5,7,10 และ 12 ppt เป็นเวลา 8 สัปดาห์ เพื่อเปรียบเทียบผลต่อการเจริญเติบโต อัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อ, อัตราการรอดตาย, องค์ประกอบทางเคมีของเนื้อ, องค์ประกอบเลือด และการเปลี่ยนแปลงทางเนื้อเยื่อวิทยา การทดลองแต่ละชุดการทดลองแบ่งเป็น 3 ซ้ำ โดยใช้ปลา 20 ตัว ต่อซ้ำ จากการทดลองพบว่า ปลาที่เลี้ยงในน้ำที่มีความเค็ม 0 ถึง 7ppt ไม่มีความแตกต่างของการเจริญเติบโต อัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อ และอัตราการรอดตาย (มีต่อ)
520 _aในขณะที่ปลาที่เลี้ยงในน้ำที่มีความเค็ม 10 และ 12 ppt มีค่าดังกล่าวไม่ดี นอกจากนี้ยังพบว่ามีการเพิ่มขึ้นตามลำดับของออสโมลาริตี (osmolarity) และอิเลคโตรไลท์ (electrolyte) (โซเดียมและคลอไรด์) ในพลาสมาของเลือด (blood plasma) แอลบมิน (albumin) และฮีมาโตรคริต (hematocrit) เมื่อเลี้ยงปลาในน้ำที่มีความเค็มสูงขึ้นและเมื่อวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของตัวปลาพบว่า โปรตีนสูงขึ้นในขณะที่ไขมันลดลง และยังตรวจพบการเปลี่ยนแปลงทางเนื้อเยื่อวิทยาของเหงือกและไตในปลาที่เลี้ยงในน้ำที่มีความเค็มสูงกว่า 5ppt
650 4 _aSCI-TECH.
_9345
650 4 _aปลากดเหลือง
_xวิจัย.
_91225
700 0 _aวุฒิพร พรหมขุนทอง.
_9427
773 0 _tสงขลานครินทร์ ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
_gปีที่ 21 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มีนาคม 2542) หน้า 53 - 64
_x0125-3395
942 _cSERIALS
999 _c442
_d442