000 04075nab a2200265 4500
001 vtls000000052
003 VRT
005 20231003150055.0
008 120521 1997 th gr 0 0tha d
012 _aJournal
035 _a0000-05260
039 9 _a201312191113
_bVLOAD
_c201207042107
_dVLOAD
_y201205211704
_zVLOAD
040 _aPBRU
090 _aINDEX
100 0 _aศักดา ไตรศักดิ์.
_9473
245 1 0 _aการศึกษาการสกัดไคตินและไคโตแวนและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความจุของการแลกเปลี่ยนไอออนบวกของไคโตแซน /
_cศักดา ไตรศักดิ์
520 _aการศึกษาปริมาณของไคตินและไคโตแซนจากเปลือกกุ้งชนิดต่าง ๆ และศึกษาค่าความจุของการแลกเปลี่ยนไอออนบวกของไคโตแซนทั้งในสภาวะที่ไอออนแต่ละชนิดแยกกันอยู่ และสภาพที่ไอออนหลายชนิดอยู่รวมกันในสารละลาย เพื่อศึกษาถึงความจำเพาะและหาข้อสรุปของปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลต่อความสามารถในการจับไอออนบวกของไคโตแซน โดยไอออนบวกที่เลือกศึกษาได้แก่ Fe Cu Zn Cd และ Pb การศึกษาพบว่ากุ้งกุลาดำมีปริมาณไคตินและไคโตแซนมากที่สุด รองลงมาได้แก่กุ้งลายน้ำตาล กุ้งขาว กุ้งก้ามกราม กุ้งโอคัก กุ้งลายหิน และกุ้งแชบ๊วย การหาค่าความจุไอออนบวกของไคโตแซนศึกษาโดยใช้เทคนิค Atomic Absorption spectroscopy จากการวิจัยพบว่าไคโตแซนที่ใช้เวลาสกัดนาน 2 ชั่วโมง มีความสามารถในการจับไอออนบวกได้ดีกว่าไคโตแซนที่ใช้เวลาสกัดเพียง 1 ชั่วโมง และพบว่าลำดับของไอออนบวกที่ถูกจับโดยไคโตแซนมีลำดับเป็น Cu > Zn > Pb ~ Cd > Fe โดยลำดับนี้จะเหมือนกันทั้งใรสารละลายของไอออนแต่ละชนิดและสารละลายที่มีไอออนเหล่านี้อยู่รวมกัน นอกจากนี้ข้อมูลของความจุในการแลกเปลี่ยนไอออนบวกยังบ่งชี้ว่าขนาดและประจุของไอออนโลหะมีอิทธิพลต่อความจุของการแลกเปลี่ยนไอออนบวกของไคโตแซนมากกว่าธรรมชาติของไอออนโลหะ
650 4 _aไคโตแซน.
_9500
650 4 _aไคติน.
_9501
650 4 _aวิทยาศาสตร์
_xวิจัย.
_9502
650 4 _aกุ้ง
_xวิจัย.
_9503
650 4 _aSCI-TECH.
_9345
773 0 _tวิทยาศาสตร์ลาดกระบัง
_gปีที่ 7 ฉบับที่ 1 (สิงหาคม 2540) หน้า 26 - 35
942 _cSERIALS
999 _c52
_d52