000 04740nab a2200265 4500
001 vtls000000524
003 VRT
005 20231003150306.0
008 120521 2000 th br 0 0tha d
012 _aJournal
035 _a0000-52560
039 9 _a201312191121
_bVLOAD
_c201207042115
_dVLOAD
_y201205211707
_zVLOAD
040 _aPBRU
090 _aINDEX
100 0 _aธเนศ ขำเกิด.
_91349
245 1 0 _aการปฏิรูประบบบริหารและการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ /
_cธเนศ ขำเกิด
520 _aพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ปี พ.ศ.2542 มีผลใช้บังคับ (20 สิงหาคม 2542) ซึ่งเป็นกฎหมายที่ออกตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ปี พ.ศ.2540 อันเป็นกฎหมายของประชาชนฉบับแรกซึ่งเป็นทั้งนโยบาย คู่มือ แนวปฏิบัติที่ทุกคนทุกฝ่ายจะต้องดำเนินการให้ได้ กลไกสำคัญในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ คือ การปฏิรูประบบบริหารและการจัดการ ที่ปรากฎในหมวดที่ 5 ของพระราชบัญญัติ ซึ่งมีจุดเน้นแนวคิดและแนวปฏิบัติที่สำคัญ สรุปได้ดังนี้ 1.การกระจายอำนาจทางการศึกษา (decentralization of education) (มีต่อ)
520 _a2.การบริหารจัดการโดยยึดสถานศึกษาเป็นฐานการบริหาร (School-Based Management : SBM) 3.การมีส่วนร่วมและการร่วมคิดร่วมทำ (participation & collaboration) 4.การแสดงความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ (accountability) 5.คณะกรรมการสถานศึกษา 6.ธรรมนูญโรงเรียน (School charter) การฏิรูประบบบริหารและการจัดการศึกษาทั้งระบบ บนพื้นฐานความคิดในเรื่องการกระจายอำนาจทางการศึกษา การใช้สถานศึกษาเป็นฐานในการบริหาร การมีส่วนร่วมคิดร่วมทำและการแสดงความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ (มีต่อ)
520 _aเพื่อสร้างเอกภาพบนความหลากหลายตามหลักพหุเอกานิยมดังกล่าว ที่มีระบบกำกับติดตามประเมินผลปรับปรุงพัฒนา และการสร้างขวัญกำลังใจที่ชัดเจนควบคู่ไปด้วย ดังที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ในเรื่องมาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา การส่งเสริมพัฒนาวิชาชีพครู การออกและเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ การออกกฎหมายว่าด้วยเงินเดือน และค่าตอบแทนต่างๆ ก็น่าจะช่วยเสริมให้การปฏิรูปการศึกษาบังเกิดผลดีและมีความหวังมากขึ้น
650 4 _aSCI-TECH.
_9345
650 4 _aพระราชบัญญัติการศึกษา.
_91350
650 4 _aการศึกษา, การปฏิรูป.
_91351
773 0 _tส่งเสริมเทคโนโลยี
_gปีที่ 26 ฉบับที่ 149 (กุมภาพันธ์-มีนาคม 2543) หน้า 154 - 156
_x0859-1156
942 _cSERIALS
999 _c524
_d524