000 05038nab a2200313 4500
001 vtls000000618
003 VRT
005 20231003150334.0
008 120521 1999 th mr 0 0tha d
012 _aJournal
035 _a0000-61960
039 9 _a201312191122
_bVLOAD
_c201207042117
_dVLOAD
_y201205211708
_zVLOAD
040 _aPBRU
090 _aINDEX
100 0 _aชาติบุตร บุณยะจิตติ.
_9526
245 1 0 _aภัยน้ำ /
_cชาติบุตร บุณยะจิตติ
520 _aจังหวัดนราธิวาสเป็นจังหวัดชายแดนใต้สุดของไทย สภาพภูมิประเทศโดยทั่วไป ประมาณ 2 ใน 3 ของจังหวัด เป็นป่าภูเขา มีแม่น้ำหลัก 4 สาย ซึ่งมีความสำคัญต่อชีวิตเกษตร บริเวณชายฝั่งทะเลมีราษฎรอาศัยเป็นจำนวนมาก ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำนา ทำสวนมะพร้าว(มีต่อ)
520 _aสวนผลไม้และสวนปาล์ม แต่พื้นที่ดังกล่าวประสบปัญหาดินขาดความอุดมสมบูรณ์ และมีลักษณะเป็นกรด และในบางพื้นที่มีปัญหาดินเค็มด้วย สำหรับแหล่งน้ำในฤดูฝน มีฝนตกบริมาณมาก และมักจะเกิดน้ำท่วมประจำ ทำให้ผลผลิตทางการเกษตรอยู่ในเกณฑ์ต่ำในฤดูแล้ง(มีต่อ)
520 _aจะขาดแคลนน้ำจืด และปัญหาน้ำเค็มสูงล้ำพื้นที่ ปัญหาน้ำเปรียวไหลออกจากป่าพรุ เนื่องจากปัญหาดังกล่าว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงหาวิธีจัดการแก้ไข ปัญหาน้ำ ทรงรียกวิชาจัดการนี้วา โครงการน้ำ 4 อย่าง 3 รส คือน้ำเปรียว น้ำเค็ม น้ำท่วม น้ำแล้ง ส่วน 3 รส คือ(มีต่อ)
520 _aน้ำเปรียว รสเค็ม และขาดแคลนน้ำจือ ด้วยความลึกซึ้งในพระปรัชญาสามารถของพระองค์ ไม่ว่าจะเกี่ยวกับเรื่องน้ำ เรื่องดิน การเป็นอยู่ของประชาชน แม้กระทั่งการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ได้ทรงวางแผนโครงการในลักษณะที่เชื่อมโยงกันหมด แม้กระทั่งระบบการควบคุมน้ำ(มีต่อ)
520 _aมีการวางประตูระบายน้ำ วางคลอง และกิจกรรมต่างๆ นั้นจะสอดคล้องสนับสนุนซึ่งกันและกัน ปัจจุบันนี้ความเดือนร้อนของราษฎรในทุกพื้นที่ บรรเทาความเดือดร้อนไปได้มาก และกรมชลประทานได้ว่าจ้างบริษัทที่ปรึกษา(มีต่อ)
520 _aจัดทำแผนหลักโครงการต่างๆเพื่อวางแนวทางในการพัฒนาอย่างมีระบบ มีทิศทางที่ชัดเจนแน่นอน และยังเป็นการสนองแนวพระราชประสงค์ของพระองค์ท่าน เพื่อช่วยแบ่งเบาภาระกิจคิดหาแนวทางแก้ไขปัญหาแทนพระองค์ต่อไป
650 4 _aทรัพยากรธรรมชาติ.
_9432
650 4 _aโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ.
_9527
650 4 _aน้ำ.
_9556
650 4 _aSCI-TECH.
_9345
773 0 _tโลกใบใหม่
_gปีที่ 10 ฉบับที่ 115 (เมษายน 2542) หน้า 8 - 10
_x0859-6107
942 _cSERIALS
999 _c618
_d618