000 06389nab a2200277 4500
001 vtls000000623
003 VRT
005 20231003150335.0
008 120521 1999 th qr 0 0tha d
012 _aJournal
035 _a0000-62460
039 9 _a201312191122
_bVLOAD
_c201207042117
_dVLOAD
_y201205211708
_zVLOAD
040 _aPBRU
090 _aINDEX
100 0 _aขนิษฐา ทวีถาวรสวัสดิ์.
_91489
245 1 0 _aอันตรายจากไดออกซิน /
_cขนิษฐา ทวีถาวรสวัสดิ์
520 _aไดออกซินเป็นสารประกอบทางเคมีที่รู้จักเป็นอย่างดีในต่างประเทศ ตั้งแต่ปีพ.ศ.2513 ว่าเป็นสารเคมีที่มีอันตราย ไดออกซินเกิดจากการจับตัวกันของกลุ่มสารเคมีในสิ่งแวดล้อม ในการจับตัวกันของสารไดดอกซินส่วนใหญ่จะเป็นแบบไม่ตั้งใจ จะเป็นผลผลิตจากหลายๆ ขบวนการ โดยเฉพาะอุตสาหกรรมที่มีความเกี่ยวข้องกับคลอรีน (Chlorine) สารไดออกซินเป็นสารที่แม้ความเข้มข้นของสารน้อย แต่สามารถที่จะคงตัวอยู่ได้นาน นอกจากนี้สารไดออกซินยังสะสมในห่วงโซ่อาหารได้อีกด้วย (มีต่อ)
520 _aเช่น ชาวนาชาวไร่ใช้ยาฆ่าแมลง ทำให้ยาฆ่าแมลงตกค้างสารไดออกซินอยู่ในดิน ซึ่งการเก็บผลผลิตอาจจะติดไปกับเมล็ดพันธุ์และผลผลิต กรณีวัว ควาย มากินหญ้าบริเวณที่มีสารไดออกซินตกค้าง บริเวณดิน ทำให้สารไดออกซินไปสะสมอยู่ในตัวของสัตว์ เมื่อมนุษย์มาดื่มนมหรือผลิตภัณฑ์ต่างๆ จากวัวหรือควายนั้นสารไดออกซินจะถูกถ่ายทอดสู่มนุษย์ ทางองค์การพิทักษ์สิ่งแวดล้อมแห่งประเทศไทย สหรัฐอเมริกาหรือ US-EPA ได้จัดให้ไดออกซินเป็นสารก่อมะเร็งในมนุษย์และมีผลต่อระบบสืบพันธุ์ (มีต่อ)
520 _aนอกจากนี้ ไดออกซินยังเป็นตัวทำลายแบบภูมิคุ้มกันในร่างกายและรบกวนการทำงานของฮอร์โมนอีกด้วย ระดับของสารไดออกซินที่ไม่เป็นอันตรายโดยสถาบันด้านสาธารณสุขของสหรัฐอเมริกา กำหนดให้ค่าไดออกซินที่ร่างกายสามารถรับได้ไม่เกินวันละ 0.001ไมโครกรัมต่อน้ำหนักตัว 1กิโลกรัม สารไดออกซินโดยทั่วไปตรวจพบในอากาศ ดิน ตะกอน และอาหาร สารไดออกซินเริ่มแรกจะอยู่ในอากาศ และจากนั้นจะตกลงมาสะสมบริเวณต่างๆ เช่น พื้นผิวดิน การก่อสร้างและวัสดุปูถนน ในน้ำ และใบไม้ของพืช (มีต่อ)
520 _aแต่แหล่งที่ผลิตสารได้คือ เตาเผาขยะมูลฝอยเทศบาล, เตาเผาขยะติดเชื้อ, โรคหลอมทองแดง, ไฟไหม้ป่า, เตาเผาปูนซีเมนต์, โรงไฟฟ้าถ่านหิน, การเผาไม้โดยวิธีชาวบ้าน, การฟอกขาวของโรงงานกระดาษ, โรงงานอุตสาหกรรมทางเคมีที่เกี่ยวข้องกับคลอรีน, โรงงานผลิตยาฆ่าแมลง, การเผาหญ้า ประเทศไทยเริ่มมีการตื่นตัวกับสารไดออกซิน โดยเฉพาะอย่างยิ่งมีการนำเอาเตาเผาขยะมาใช้เพิ่มมากขึ้น จากที่แต่เดิมมีใช้ในจังหวัดภูเก็ต เกาะสมุยจังหวัดสุราษฎร์ธานี เกาะล้านจังหวัดชลบุรี ขณะนี้มีการนำมาใช้ในเทศบาลหลายแห่ง รวมถึงกรุงเทพมหานครด้วย ทำให้มีการตระหนักถึงพิษภัยที่จะเกิดขึ้นจากสารตัวนี้
650 4 _aSCI-TECH.
_9345
650 4 _aสารไดออกซิน.
_91490
650 4 _aสารพิษ.
_9594
773 0 _tสิ่งแวดล้อม
_gปีที่ 4 ฉบับที่ 16 (มกราคม-มีนาคม 2543) หน้า 51 - 54
_x0859-3868
942 _cSERIALS
999 _c623
_d623