000 05114nab a2200253 4500
001 vtls000000744
003 VRT
005 20231003150406.0
008 120521 1999 th br 0 0tha d
012 _aJournal
035 _a0000-74560
039 9 _a201312191124
_bVLOAD
_c201207042119
_dVLOAD
_y201205211709
_zVLOAD
040 _aPBRU
090 _aINDEX
100 0 _aเกื้อเมธา ฤกษ์พรพิพัฒน์.
_9798
245 1 0 _aฟื้นภูมิปัญญาไทยใส่ใจศึกษาสมุนไพรไล่แมลง /
_cเกื้อเมธา ฤกษ์พรพิพัฒน์
520 _aแมลงไม่เพียงแต่เป็นพาหะนำโรคและสร้างความเสียหายแก่ข้าวของเครื่องใช้ในบ้านเท่านั้น แต่ยังเป็นตัวการสำคัญที่ทำอันตรายต่อศิลปโบราณวัตถุประเภทอินทรียสารด้วย แม้ว่าการควบคุมแมลงเหล่านี้ก็มีด้วยกันหลายวิธีเช่น การดักจับ การใช้ความเย็นหรือลดอุณหภูมิและการฉายรังสี แต่วิธีการที่เสียค่าใช้จ่ายน้อย สะดวก และดูเหมือนมีประสิทธิภาพในการกำจัดแมลงมากที่สุดคือ ใช้สารเคมีสังเคราะห์ฉีดพ่น แต่มีข้อเสียคือ หลังจากการใช้ยาฆ่าแมลงพวกนี้ไปสักพัก แมลงจะเริ่มดื้อยา (มีต่อ)
520 _aทำให้ต้องใช้สารเคมีในปริมาณที่เพิ่มสูงขึ้น นอกจากนี้ยังมีสารพิษตกค้างในสิ่งแวดล้อมสูง จึงก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ใช้และผู้ที่มาเที่ยวชมพิพิธภัณฑ์ ด้วยเหตุนี้ ดร.วิชัย หวังเจริญตระกูล นักวิทยาศาสตร์ในส่วนวิทยาศาสตร์เพื่อการอนุรักษ์ สำนักโบราณคดีและพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ กรมศิลปากร จึงทำการศึกษาวิจัยว่า มีสมุนไพรไทยตัวไหนบ้างที่สามารถนำมาใช้ไล่และฆ่าแมลงแทนสารเคมีสังเคราะห์ได้ โดยในเบื้องต้นเน้นศึกษาสมุนไพรที่จะนำมาใช้ควบคุมแมลงสามหางและแมลงสาบก่อน (มีต่อ)
520 _aเพราะเป็นตัวก่อกวนสำคัญในพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ จากการวิจัยปรากฎว่ามีสมุนไพร 4ชนิดคือ ไพล กะทือ กะเพรา และดีปลี ที่สกัดเป็นน้ำมันหอมระเหยแล้วมีประสิทธิภาพในการควบคุมแมลงได้ดี โดยเหง้าของไพลมีประสิทธิภาพสูงในการไล่และฆ่าแมลงสามหาง ส่วนน้ำมันหอมระเหยจากเหง้าของกะทือและน้ำมันหอมระเหยจากต้นและใบกะเพราแสดงคุณสมบัติไล่แมลงสาบได้ดีถึงร้อยละ 90-100 ภายในเวลา 24ชม. ดังนั้นจึงน่าที่จะนำมาไล่แมลงสาบต่อไป ส่วนสารสกัดด้วยเฮกเซนจากเหง้าของไพลและดีปลีมีคุณสมบัติในการฆ่าแมลงสาบ จึงเหมาะที่จะนำมาผสมกับอาหารวางเป็นเหยื่อ
650 4 _aSCI-TECH.
_9345
650 4 _aสมุนไพร.
_9866
773 0 _tโลกสีเขียว
_gปีที่ 8 ฉบับที่ 5 (พฤศจิกายน-ธันวาคม 2542) หน้า 9 - 11
_x0858-4761
942 _cSERIALS
999 _c744
_d744