000 03895nab a2200277 4500
001 vtls000000853
003 VRT
005 20231003150430.0
008 120521 2000 th mr 0 0tha d
012 _aJournal
035 _a0000-85460
039 9 _a201312191126
_bVLOAD
_c201207042121
_dVLOAD
_y201205211710
_zVLOAD
040 _aPBRU
090 _aINDEX
100 0 _aศรีสุวรรณ จรรยา.
_9588
245 1 0 _aเสียงเพื่อการศึกษา...เพื่อสิ่งแวดล้อม /
_cศรีสุวรรณ จรรยา
520 _aมูลนิธิป้องกันควันพิษและพิทักษ์สิ่งแวดล้อม ได้ร่วมมือกับหลายองค์กรและหน่วยงาน ทั้งในและต่างประเทศ ในการศึกษาวิจัย และรณรงค์เผยแพร่องค์ความรู้เรื่องเสียงควบคู่กับปัญหามลพิษทางอากาศ ซึ่ง " มลพิษทางเสียง" ถือว่าเป็นภัยอันตรายเงียบ ภัยเงียบดังกล่าวส่งผล(มีต่อ)
520 _aที่ชัดเจนต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน โดยที่เจ้าตัวเองก็ไม่รู้สึกตัว ผลที่ปรากฏจากการที่มูลนิธิฯ นำเครื่องมือที่เรียกว่า Hearing Loss Monitoring ไปทำการทดสอบ ตรวจวัดสมรรถนะของการได้ยินทางหูของบุคคลกลุ่มเสียงเหล่านั้น ปรากฏชัดเจนว่าเกิดปัญหาหูเสื่อมโดยไม่รู้สึกตัวเอง ผลดังกล่าวแม้ไม่ทำให้(มีต่อ)
520 _aร่างกายเจ็บป่วยแต่ก็ทำให้สุขภาพร่างกายและสุขภาพจิตเสียได้ง่าย ในส่วนของประเทศไทยนั้นมูลนิธิฯ ได้จัดการประชุมระดมความคิดในการที่จะร่วมกันหาทางป้องกันปัญหามลพิษทางเสียงที่เกิดขึ้น โดยมีการสัมมนาเผยแพร่องค์ความรู้ประสบการณ์ต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศมาให้กับผู้ร่วมเข้าสัมมนา ซึ่งมูลนิธิฯ คิดว่า(มีต่อ)
520 _aจักสามารถ สร้างความรู้ ความเข้าใจ ถึงปัญหา ดังกล่าว ร่วมกันได้ มากขึ้น ซึ่งจะนำไป สู่กระบวนการ ของการ ป้องกัน และ แก้ไข ปัญหา มลพิษ ทางเสียง ร่วมกัน อย่างถาวร และ ยั่งยืน ได้ใน อนาคต
650 4 _aSCI-TECH.
_9345
650 4 _aเสียง.
_91111
650 4 _aมลพิษทางเสียง.
_91775
773 0 _tโลกใบใหม่
_gปีที่ 11 ฉบับที่ 128 (พฤษภาคม 2543) หน้า 32 - 33
_x0859-6107
942 _cSERIALS
999 _c853
_d853