000 03961nab a2200277 4500
001 vtls000000913
003 VRT
005 20231003150446.0
008 120521 2000 th qr 0 0tha d
012 _aJournal
035 _a0000-91460
039 9 _a201312191127
_bVLOAD
_c201207042122
_dVLOAD
_y201205211710
_zVLOAD
040 _aPBRU
090 _aINDEX
100 0 _aลัดดาวัลย์ มูสิกะปาละ.
_91874
245 1 0 _aปัจจัยที่มีผลต่อการแยกและเพาะเลี้ยงโปรโตพลาสต์ของส้มแขก /
_cลัดดาวัลย์ มุสิกะปาละ, สมปอง เตชะโต
520 _aทำการแยกโปรโตพลาสต์จากใบอ่อนส้มแขกที่ได้จากการเพาะเลี้ยงลำต้นบนอาหารสองชั้นเป็นระยะเวลาต่างๆ ตัดใบตามแนวขวางเป็นเส้นขนาดเล็กจุ่มแช่ในสารละลายเอนไซม์ที่ประกอบด้วย cellulase Onozuka R-10 และ macerozyme R-10 ความเข้มข้นต่างๆ ทำการอินคิวเบทในสารละลายเอนไซม์ปริมาตร 10 มล. บนเครื่องเขย่าด้วย (มีต่อ)
520 _aความเร็ว 40รอบ/นาที ในที่มืด หลังจากอินคิวเบทเป็นเวลา 12ชั่วโมง นำมาแยกโปรโตพลาสต์ นับจำนวนเปรียบเทียบกันปรับความหนาแน่นและเลี้ยงในอาหารเติมสารควบคุมการเจริญเติบโตชนิดและความเข้มข้นต่างๆ พบว่า การใช้ใบที่มีอายุ 3เดือน หลังเติมอาหารเหลว อินคิวเบทในสารละลายเอนไซม์ cellulese Onozuka R-10 2% และ (มีต่อ)
520 _amacerozyme R-10 1% ให้จำนวนโปรโตพลาสต์สูง 1.25x10 /กรัมน้ำหนักสด และความมีชีวิตสูงสุด 91.19% การเลี้ยงแบบฝังในอาหารสูตร MS เติม Phytagel 0.2% น้ำตาลซูโครส 3% แมนนิทอล 0.7โมลาร์ dicamba 0.5มก./ล และBA 1มก./ล ส่งเสริมการแบ่งเซลล์ได้ดีที่สุด (มีต่อ)
520 _aอายุของใบและความหนาแน่นในการเลี้ยงเริ่มต้นมีผลกระทบต่อพัฒนาการของโปรโตพลาสต์คือ เลี้ยงโปรโตพลาสต์จากใบที่มีอายุ 1เดือน ด้วยความหนาแน่น 1.5x10ยกกำลัง5 /มล. ในอาหารดังกล่าวส่งเสริมการสร้างโคโลนีขนาดเล็กได้หลังจากการเลี้ยงเป็นเวลา 4สัปดาห์
650 4 _aSCI-TECH.
_9345
650 4 _aส้มแขก
_xวิจัย.
_91875
700 0 _aสมปอง เตชะโต.
_9416
773 0 _tสงขลานครินทร์ วทท.
_gปีที่ 22 ฉบับที่ 4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2543) หน้า 411 - 420
_x0125-3395
942 _cSERIALS
999 _c913
_d913