000 04682nab a2200253 4500
001 vtls000000097
003 VRT
005 20231003150109.0
008 120521 1999 th mr 0 0tha d
012 _aJournal
035 _a0000-09760
039 9 _a201312191114
_bVLOAD
_c201207042108
_dVLOAD
_y201205211705
_zVLOAD
040 _aPBRU
090 _aINDEX
100 0 _aนิติกานต์ สุกิน.
_9600
245 1 0 _a10 ปีแห่งการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตชุมชนลุ่มแม่น้ำมูล /
_cนิติกานต์ สุกิน
520 _aโครงการธรรมชาติยาตราเพื่อแม่น้ำมูลเป็นอีกกิจกรรมหนึ่งที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายนถึง 12 ธันวาคม เพื่อรณรงค์เผยแพร่ รวบรวมสภาพปัญหา ปลุกจิตสำนึก ระดมพลังคนในท้องถิ่นและเสนอทางเลือกในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติลุ่มแม่น้ำมูล โดยบอกเล่าเรื่องราวความเป็นมาทางสังคม วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ โบราณคดีของความเป็นแหล่งอารยธรรมลุ่มน้ำมูล นอกจากนี้จัดทำขึ้นเพื่อเสนอแนะทางออกของปัญหาที่คนลุ่มน้ำมูลต้องเผชิญกันอยู่ หาทางช่วยเหลือคนที่กำลังเดือดร้อน (มีต่อ)
520 _aจากปัญหาที่เขื่อนปากมูลและเขื่อนสิรินธรถึง 2,400 ครอบครัว ซึ่งขณะนี้รัฐขาดความรู้ความเข้าใจในธรรมชาติของคนอีสาน ที่เป็นดินแดนที่ไม่สามารถใช้ประโยชน์ทางอุตสาหกรรมได้ เพราะฉะนั้นเราจำเป็นต้องมองทางเลือกซึ่งที่เห็นคือ รักษาแม่น้ำลำคลองให้เป็นแหล่งประมงน้ำจืดที่ยิ่งใหญ่ หลายแห่งในลุ่มน้ำมูลอาจเคลื่อนย้ายคนที่ไร้ที่อยู่ไปหาที่อยู่ใหม่ในลุ่มน้ำสงคราม เพราะมีสภาพภูมิประเทศใกล้เคียงกันคือ มีป่าบุ่ง ป่าทาม และพันธ์ปลามาก แต่กำลังจะสร้างอ่างเก็บน้ำ ซึ่งไม่มีประโยชน์อะไร (มีต่อ)
520 _aเพราะเขตลุ่มน้ำสงครามไม่เคยขาดแคลนน้ำ หากจะเวนคืนที่ดินตรงนั้นก็เอามาให้ 2,400 ครอบครัว ไปตั้งถิ่นฐานทำประมงน้ำจืดแบบเดิม เพราะคือชีวิตที่ผ่านมาของพวกเขา นี่คือการแก้ไขที่เป็นรูปธรรม อีกทางเลือกหนึ่งคือการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติที่หลากหลาย กำหนดให้เป็นเขตท่องเที่ยวระดับโลก หากเปิดทางเลือกที่ดีแล้ว การท่องเที่ยวแบบนี้จะเป็นการกระจายรายได้สู่ท้องถิ่นถ้ามีการจัดการที่ดี
650 4 _aSCI-TECH.
_9345
651 4 _aแม่น้ำมูล.
_9601
773 0 _tโลกใบใหม่
_gปีที่ 10 ฉบับที่ 123 (ธันวาคม 2542) หน้า16 - 21
_x0859-6107
942 _cSERIALS
999 _c97
_d97