000 04854nab a2200277 4500
001 vtls000000974
003 VRT
005 20231003150503.0
008 120521 2000 th br 0 0tha d
012 _aJournal
035 _a0000-97560
039 9 _a201312191128
_bVLOAD
_c201207042123
_dVLOAD
_y201205211710
_zVLOAD
040 _aPBRU
090 _aINDEX
100 0 _aไกรวิทย์ เศรษฐวนิช.
_91322
245 1 0 _aแนวทางพัฒนาบุคคลากรของการซ่อมบำรุงยุคใหม่ /
_cไกรวิทย์ เศรษฐวนิช
520 _aการบำรุงรักษาของฝ่ายซ่อมบำรุงภายในโรงงานอุตสาหกรรมโดยทั่วๆไปนั้น ถือว่าเป็นงานที่ต้องให้การสนับสนุนแก่ฝ่ายผลิตหรือฝ่ายปฎิบัติการ เพื่อดูแลรักษาเครื่องจักรอุปกรณ์ต่างๆ และให้บริการที่สร้างความน่าเชื่อถือได้ ในด้านความพร้อมของกระบวนการผลิตตลอดเวลา หน้าที่หลักของฝ่ายซ่อมบำรุงนั้นจะต้องพยายาม (มีต่อ)
520 _aไม่ให้เกิดความเสียหายหรือการสูญเสียเวลาอันเนื่องมาจากการทำงานของเครื่องจักรหรือให้เกิดน้อยที่สุด การที่จะยกระดับทักษะในการทำงานของฝ่ายซ่อมบำรุงอย่างเป็นรูปธรรมนั้น จะต้องมีบรรยากาศของความคิดสร้างสรรค์และให้โอกาสในการส่งเสริมเทคโนโลยีซึ่งแสดงถึงแนวทางพัฒนาบุคลากรของการซ่อมบำรุงในยุคใหม่ (มีต่อ)
520 _aปัจจัยที่จะนำไปสู่การบำรุงรักษาทวีผลที่ทุกคนมีส่วนร่วมให้ประสบความสำเร็จนั้นคือ การฝึกอบรมและให้ความรู้ตามความสำคัญของลำดับการบริหารงานภายในองค์การ เพื่อเป็นการกำหนดทิศทางและเป้าหมายในอนาคต งานของฝ่ายซ่อมบำรุงในปัจจุบันไม่ได้แยกออกเป็นกิจกกรมอิสระภายในองค์การแต่จะต้องผ่านระบบเครือข่าย (มีต่อ)
520 _aที่เชื่อมโยงกันภายใน ด้วยแนวความคิดใหม่และเทคโนโลยีใหม่ๆ ดังนั้นการฝึกอบรมและการให้ความรู้แก่ทรัพยากรบุคคลจึงเป็นเรื่องที่จำเป็นและจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องระบุไว้ในนโยบาย ซึ่งในอนาคตในการปฎิบัติงานของฝ่ายซ่อมบำรุงจะต้องอาศัยเทคโนโลยี (มีต่อ)
520 _aการบริหารงานแบบมืออาชีพ ที่ไม่เพียงแต่อาศัยความมีระเบียบวินัยเท่านั้น แต่จะต้องนำเอาความสามารถของบุคลากรเหล่านั้นไปสู่การประสานงานกับหน่วยงานอื่นๆ
650 4 _aSCI-TECH.
_9345
650 4 _aเครื่องจักร
_xการบำรุงรักษาและการซ่อมแซม.
_91970
773 0 _tส่งเสริมเทคโนโลยี
_gปีที่ 27 ฉบับที่ 152 (สิงหาคม-กันยายน 2543) หน้า 154 - 158
_x0859-1156
942 _cSERIALS
999 _c974
_d974