ละอง-ละมั่ง สัตว์ป่าสงวนในกรง / (Record no. 101)

MARC details
000 -LEADER
fixed length control field 04937nab a2200265 4500
001 - CONTROL NUMBER
control field vtls000000101
003 - CONTROL NUMBER IDENTIFIER
control field VRT
005 - DATE AND TIME OF LATEST TRANSACTION
control field 20231003150110.0
008 - FIXED-LENGTH DATA ELEMENTS--GENERAL INFORMATION
fixed length control field 120521 1999 th mr 0 0tha d
012 ## -
-- Journal
035 ## - SYSTEM CONTROL NUMBER
System control number 0000-10160
039 #9 - LEVEL OF BIBLIOGRAPHIC CONTROL AND CODING DETAIL [OBSOLETE]
Level of rules in bibliographic description 201312191114
Level of effort used to assign nonsubject heading access points VLOAD
Level of effort used to assign subject headings 201207042108
Level of effort used to assign classification VLOAD
-- 201205211705
-- VLOAD
040 ## - CATALOGING SOURCE
Original cataloging agency PBRU
090 ## - LOCALLY ASSIGNED LC-TYPE CALL NUMBER (OCLC); LOCAL CALL NUMBER (RLIN)
Classification number (OCLC) (R) ; Classification number, CALL (RLIN) (NR) INDEX
100 0# - MAIN ENTRY--PERSONAL NAME
Personal name สวัสดิ์ วงศ์ถิรวัฒน์.
9 (RLIN) 607
245 10 - TITLE STATEMENT
Title ละอง-ละมั่ง สัตว์ป่าสงวนในกรง /
Statement of responsibility, etc. สวัสดิ์ วงศ์ถิรวัฒน์
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. ละองหรือละมั่ง จัดอยู่ในสัตว์จำพวกกวางซึ่งเป็นสัตว์ลูกด้วยนมจำพวกแรกที่มีเขาบนหัว ซึ่งเป็นลักษณะแสดงเพศของกวางตัวผู้ ส่วนตัวเมียไม่มีเขา ลักษณะเขาเป็นคู่แบบ Antlers หรือเรียกว่า เขากวาง มีการผลัดเขา โดยเขาเก่าจะผลัดหลุดไปเมื่อเขาแก่เต็มที่ เขาใหม่จะงอกขึ้นแทนที่เป็นประจำทุกปี เขาจะเจริญใหญ่และมีการแตกกิ่งก้านออกไปตามอายุและขนาดของกวาง คำว่า ละอง มักใช้เรียกตัวผู้ขนาดใหญ่ที่มีขนาดคอยาวสีค่อนข้างดำ ส่วนตัวเมียมักเรียกว่า ละมั่ง (มีต่อ)
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. แต่ส่วนใหญ่นิยมเรียกสั้นๆ ว่าละมั่ง ทั้งตัวผู้และตัวเมีย ซึ่งชื่อ ละมั่ง น่าจะมีต้อตอมาจากชื่อเรียกเป็นภาษาเขมรว่า ล่าเมียง ลักษณะเด่นของละองหรือละมั่ง ตัวผู้อยู่ที่ลักษณะของเขา ละมั่งพันธุ์ไทย จำแนกเป็นชนิดย่อย eldi siamensis มีลักษณะปลายล้ำเขาแบนใหญ่ แตกเป็นแขนงเขาเล็กๆ หลายแขนงคล้ายมือและบริเวณรอยต่อกิ่งรับหมากับลำเขามีแขนงเขาเล็กๆ ยื่นขึ้นมา 2-3 กิ่ง (มีต่อ)
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. ส่วนอีกพันธุ์หนึ่งเป็นพันธุ์พม่าที่เรียกว่า ทามิน มีลักษณะสีขนตามตัวเข้มกว่าพันธุ์ไทย ปลายลำเขาค่อนข้างมีแขนงเขาน้อยกว่า และส่วนใหญ่จะไม่มีแขนงเขายื่นขึ้นมาบริเวณลำเขา ละมั่งทั้ง 2 ชนิดพันธุ์เคยมีพบในประเทศไทยทั้งคู่ ประเทศไทยจึงถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการกระจายพันธุ์ของละอง ละมั่ง แต่เดิมเคยมีชุกชุมตามป่าโปร่งเกือบทุกภาพ ยกเว้นภาคใต้ ต่อมาละอง ละมั่ง ถูกล่าจนสูญพันธุ์หมดไปเกือบทุกแหล่ง โดยเฉพาะละองละมั่ง เชื้อสายไทยแท้ๆ ทำให้ปัจจุบันยังคงมีละองละมั่ง มีชีวิตรอดให้พวกเราคนไทยได้ดูกันแต่ในตามสวนสัตว์ รวมถึงในสวนสัตว์เปิดเขาประทับช้าง ซึ่งส่วนใหญ่เป็นละองละมั่งเชื้อสายพม่า
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element SCI-TECH.
9 (RLIN) 345
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element ละองละมั่ง.
9 (RLIN) 608
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element การอนุรักษ์สัตว์ป่า.
9 (RLIN) 609
773 0# - HOST ITEM ENTRY
Title โลกใบใหม่
Related parts ปีที่ 10 ฉบับที่ 121 (ตุลาคม 2542) หน้า 22 - 23
International Standard Serial Number 0859-6107
942 ## - ADDED ENTRY ELEMENTS (KOHA)
Koha item type Serials

No items available.