ฉนวนกันความร้อนเพื่ออนุรักษ์พลังงาน (Record no. 87)

MARC details
000 -LEADER
fixed length control field 06936nab a2200277 4500
001 - CONTROL NUMBER
control field vtls000000087
003 - CONTROL NUMBER IDENTIFIER
control field VRT
005 - DATE AND TIME OF LATEST TRANSACTION
control field 20231003150106.0
008 - FIXED-LENGTH DATA ELEMENTS--GENERAL INFORMATION
fixed length control field 120521 1999 th mr 0 0tha d
012 ## -
-- Journal
035 ## - SYSTEM CONTROL NUMBER
System control number 0000-08760
039 #9 - LEVEL OF BIBLIOGRAPHIC CONTROL AND CODING DETAIL [OBSOLETE]
Level of rules in bibliographic description 201312191114
Level of effort used to assign nonsubject heading access points VLOAD
Level of effort used to assign subject headings 201207042108
Level of effort used to assign classification VLOAD
-- 201205211704
-- VLOAD
040 ## - CATALOGING SOURCE
Original cataloging agency PBRU
090 ## - LOCALLY ASSIGNED LC-TYPE CALL NUMBER (OCLC); LOCAL CALL NUMBER (RLIN)
Classification number (OCLC) (R) ; Classification number, CALL (RLIN) (NR) INDEX
245 00 - TITLE STATEMENT
Title ฉนวนกันความร้อนเพื่ออนุรักษ์พลังงาน
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. สถานการณ์การใช้พลังงานไฟฟ้าของประเทศไทยในปัจจุบัน นับวันจะมีความต้องการสูงขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาคการผลิตอย่างโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่และขนาดเล็กทั่วประเทศ ซึ่งมีความจำเป็นที่จะใช้พลังงานไฟฟ้าป้อนระบบแสงสว่าง ระบบปรับอากาศ ระบบการผลิต และระบบอื่นๆ ในการผลิตสินค้าและให้บริการแก่ตลาด ฉนวน นับเป็นวัสดุเพื่อประหยัดพลังงานสำคัญประเภทหนึ่ง โดยเฉพาะฉนวนความร้อนซึ่งปัจจุบันอาคารทุกประเภท (มีต่อ)
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. ต่างใช้ฉนวนกันความร้อนในการควบคุมอุณหภูมิภายในอาคารให้อยู่ในช่วงที่ต้องการ เนื่องจากฉนวนกันความร้อนมีคุณสมบัติในการสกัดกั้นการส่งผ่านความร้อนจากด้านหนึ่งไปยังอีกด้านหนึ่งและสามารถใช้งานได้ทั้งการรักษาความร้อนและความเย็น ขึ้นกับประเภทและลักษณะของฉนวน นอกจากนี้ยังสามารถป้องกันความร้อน การป้องกันเสียง การป้องกันไฟ ฯลฯ และรักษาอุณหภูมิภายในอาคารให้อบอุ่น สำหรับประเทศไทย ซึ่งมีอากาศแบบร้อนชื้นอุณหภูมิสูง (มีต่อ)
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. ดังนั้นเพื่อให้สภาพอากาศภายในอาคารมีความเหมาะสมต่อการอยู่อาศํยและเกิดภาวะความสบาย จึงต้องลดความร้อนที่เข้ามาภายในอาคารหรือที่อยู่อาศัย โดยฉนวนกันความร้อนเพื่อป้องกันการถ่ายเทความร้อนจากภายนอกเข้ามายังภายในอาคารเป็นสำคัญ ลักษณะการถ่ายเทความร้อนมี 3วิธี คือการนำความร้อน การพาความร้อน และการแผ่รังษีความร้อน ประเภทของฉนวนกันความร้อน แบ่งออกเป็น 2ประเภทคือ ฉนวนมวลสารและฉนวนสะท้อนความร้อน (มีต่อ)
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. นอกจากนี้ยังสามารถแบ่งประเภทของฉนวนตามชนิดของวัสดุพื้นฐานที่ใช้ในการผลิต 4ประเภท คือ 1.วัสดุประเภทใยแร่ 2.วัสดุประเภทเส้นใยธรรมชาติ 3.วัสดุประเภทเซลล์ธรรมชาติ 4.วัสดุประเภทเซลล์แร่ การพิจารณาเลือกใช้ฉนวนกันความร้อน สิ่งที่ควรพิจารณาคือ วัตถุประสงค์และลักษณะการใช้งาน ตลอดจนตำแหน่งที่ติดตั้งฉนวน ทั้งนี้เพื่อให้สามารถกำหนดเกณฑ์เบื้องต้นของคุณสมบัติฉนวนที่ต้องการ การเลือกใช้ฉนวนกันความร้อนสำหรับอาคาร (มีต่อ)
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. ส่วนใหญ่มีวัตถุประสงค์ในการใช้งานที่ต่างกัน ดังนั้นควรเลือกใช้ชนิดของฉนวนให้เหมาะกับประเภทของงานมากที่สุด เช่น เลือกฉนวนใยแก้วหรือใยแร่ เมื่อต้องการกันความร้อนและกันเสียง พร้อมๆ กับพิจารณาปัจจัยอื่นๆ ประกอบ ทั้งความสามารถในการต้านทานความร้อน ความชื้น แรงอัด วัตถุดิบในการผลิตฉนวนที่ไม่ก่อให้เกิดอันตรายทั้งในขณะทำงาน และเมื่อเกิดการเสื่อมสภาพหรือเกิดการเผาไหม้ฯลฯ เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ในการนำฉนวนความร้อนมาใช้อย่างคุ้มค่าและประหยัดพลังงานอย่างแท้จริง
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element SCI-TECH.
9 (RLIN) 345
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element การอนุรักษ์พลังงาน.
9 (RLIN) 583
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element ฉนวนกันความร้อน.
9 (RLIN) 584
773 0# - HOST ITEM ENTRY
Title ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม
Related parts ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 (กันยายน 2542) หน้า 27 - 30
International Standard Serial Number 0859-385
942 ## - ADDED ENTRY ELEMENTS (KOHA)
Koha item type Serials

No items available.