การตรวจวิเคราะห์แอนติบอดี ต่อนิวเคลียส โดยเทคนิค indirect immunofluorescent assay (IFA) และ indirect immunoperoxidase assay (IPA) / (Record no. 1085)

MARC details
000 -LEADER
fixed length control field 04123nab a2200253 4500
001 - CONTROL NUMBER
control field vtls000001085
003 - CONTROL NUMBER IDENTIFIER
control field VRT
005 - DATE AND TIME OF LATEST TRANSACTION
control field 20231003150533.0
008 - FIXED-LENGTH DATA ELEMENTS--GENERAL INFORMATION
fixed length control field 120521 1999 th br 0 0tha
035 ## - SYSTEM CONTROL NUMBER
System control number 0001-08660
039 #9 - LEVEL OF BIBLIOGRAPHIC CONTROL AND CODING DETAIL [OBSOLETE]
Level of rules in bibliographic description 201312191130
Level of effort used to assign nonsubject heading access points VLOAD
Level of effort used to assign subject headings 201310171013
Level of effort used to assign classification artcharaporn
Level of effort used to assign subject headings 201207042125
Level of effort used to assign classification VLOAD
-- 201205211711
-- VLOAD
040 ## - CATALOGING SOURCE
Original cataloging agency PBRU
090 ## - LOCALLY ASSIGNED LC-TYPE CALL NUMBER (OCLC); LOCAL CALL NUMBER (RLIN)
Classification number (OCLC) (R) ; Classification number, CALL (RLIN) (NR) INDEX
245 00 - TITLE STATEMENT
Title การตรวจวิเคราะห์แอนติบอดี ต่อนิวเคลียส โดยเทคนิค indirect immunofluorescent assay (IFA) และ indirect immunoperoxidase assay (IPA) /
Statement of responsibility, etc. ธีรกุล อาภรณ์สุวรรณ ... [และคนอื่นๆ]
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. แอนติบอดีต่อนิวเคลียสเป็นคำที่ใช้อธิบายถึงลักษณะของออโตแอนติบอดี ต่อส่วนประกอบของเซลล์ต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อสารประกอบในนิวเคลียส เช่น DNA RNA และโปรตีนต่างๆของนิวเคลียส แอนติบอดีต่อนิวเคลียสสามารถตรวจพบบ่อยในผู้ป่วยโรค connective tissue หรือ rheumatic โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโรค SLE (มีต่อ)
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. สำหรับวิธีการตรวจวิเคราะห์ แอนติบอดีต่อนิวเคลียส ได้มีการพัฒนามากมาย วิธีทีได้รับการยอมรับและนิยมใช้มากที่สุดคือ indirect immunofluorescent assay (IFA) ถึงแม้ว่าวิธี IFA จะเป็นที่ยอมรับในการตรวจ คัดกรองโรคแต่ห้องปฏิบัติการที่ไม่มีกลองฟลูออเรสเซนต์จะสามารถตรวจวิเคราะห์ ANA ได้โดยวิธี indirect (มีต่อ)
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. immunoperoxidase assay (IPA) พบว่าคนปกติทั้งหมดให้ผลลบทั้งสองวิธี สำหรับผู้ป่วย 30 ราย ให้ผลบวกจำนวน 26 ราย และผลลบ 4 ราย ผลการตรวจ ANA ของทั้งสองวิธี ในคนไข้ที่ให้ผลบวกมีรูปแบบของ PNA เหมือนกันและไตเตอร์ที่เท่ากัน ยกเว้นคนไข้หนึ่งราย อ่านผลเป็น homogeneous และ Spectkled (วิธีIFA) ส่วนวิธี (มีต่อ)
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. IPA อ่านผลเป็น homogeneous แต่ทั้งสองวิธีให้ผลไตเตอร์เท่ากัน (1:160) เมื่อเปรียบเทียบ ผลของความจำเพาะ (รูปแบบ ANA) และความไว (ไตเตอร์สุดท้าย) ของทั้งสองวิธีนั้น วิธี IPA สามารถที่จะใช้ในการตรวจวินิจฉัย และติดตามการรักษาโรคออโตอิมมูน โดยเฉพาะในโรค systemic lupus erythrematosus (SLE)
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element SCI-TECH.
9 (RLIN) 345
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element โรคออโตอิมมูน.
9 (RLIN) 2141
700 0# - ADDED ENTRY--PERSONAL NAME
Personal name ธีรกุล อาภรณ์สุวรรณ.
9 (RLIN) 2142
773 0# - HOST ITEM ENTRY
Title วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Related parts ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2542) หน้า 1-8
International Standard Serial Number 0858-4435
942 ## - ADDED ENTRY ELEMENTS (KOHA)
Koha item type Serials

No items available.