การตรวจวิเคราะห์แอนติบอดี ต่อนิวเคลียส โดยเทคนิค indirect immunofluorescent assay (IFA) และ indirect immunoperoxidase assay (IPA) / ธีรกุล อาภรณ์สุวรรณ ... [และคนอื่นๆ]

Contributor(s): ธีรกุล อาภรณ์สุวรรณCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | โรคออโตอิมมูน In: วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2542) หน้า 1-8Summary: แอนติบอดีต่อนิวเคลียสเป็นคำที่ใช้อธิบายถึงลักษณะของออโตแอนติบอดี ต่อส่วนประกอบของเซลล์ต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อสารประกอบในนิวเคลียส เช่น DNA RNA และโปรตีนต่างๆของนิวเคลียส แอนติบอดีต่อนิวเคลียสสามารถตรวจพบบ่อยในผู้ป่วยโรค connective tissue หรือ rheumatic โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโรค SLE (มีต่อ)Summary: สำหรับวิธีการตรวจวิเคราะห์ แอนติบอดีต่อนิวเคลียส ได้มีการพัฒนามากมาย วิธีทีได้รับการยอมรับและนิยมใช้มากที่สุดคือ indirect immunofluorescent assay (IFA) ถึงแม้ว่าวิธี IFA จะเป็นที่ยอมรับในการตรวจ คัดกรองโรคแต่ห้องปฏิบัติการที่ไม่มีกลองฟลูออเรสเซนต์จะสามารถตรวจวิเคราะห์ ANA ได้โดยวิธี indirect (มีต่อ)Summary: immunoperoxidase assay (IPA) พบว่าคนปกติทั้งหมดให้ผลลบทั้งสองวิธี สำหรับผู้ป่วย 30 ราย ให้ผลบวกจำนวน 26 ราย และผลลบ 4 ราย ผลการตรวจ ANA ของทั้งสองวิธี ในคนไข้ที่ให้ผลบวกมีรูปแบบของ PNA เหมือนกันและไตเตอร์ที่เท่ากัน ยกเว้นคนไข้หนึ่งราย อ่านผลเป็น homogeneous และ Spectkled (วิธีIFA) ส่วนวิธี (มีต่อ)Summary: IPA อ่านผลเป็น homogeneous แต่ทั้งสองวิธีให้ผลไตเตอร์เท่ากัน (1:160) เมื่อเปรียบเทียบ ผลของความจำเพาะ (รูปแบบ ANA) และความไว (ไตเตอร์สุดท้าย) ของทั้งสองวิธีนั้น วิธี IPA สามารถที่จะใช้ในการตรวจวินิจฉัย และติดตามการรักษาโรคออโตอิมมูน โดยเฉพาะในโรค systemic lupus erythrematosus (SLE)
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

แอนติบอดีต่อนิวเคลียสเป็นคำที่ใช้อธิบายถึงลักษณะของออโตแอนติบอดี ต่อส่วนประกอบของเซลล์ต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อสารประกอบในนิวเคลียส เช่น DNA RNA และโปรตีนต่างๆของนิวเคลียส แอนติบอดีต่อนิวเคลียสสามารถตรวจพบบ่อยในผู้ป่วยโรค connective tissue หรือ rheumatic โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโรค SLE (มีต่อ)

สำหรับวิธีการตรวจวิเคราะห์ แอนติบอดีต่อนิวเคลียส ได้มีการพัฒนามากมาย วิธีทีได้รับการยอมรับและนิยมใช้มากที่สุดคือ indirect immunofluorescent assay (IFA) ถึงแม้ว่าวิธี IFA จะเป็นที่ยอมรับในการตรวจ คัดกรองโรคแต่ห้องปฏิบัติการที่ไม่มีกลองฟลูออเรสเซนต์จะสามารถตรวจวิเคราะห์ ANA ได้โดยวิธี indirect (มีต่อ)

immunoperoxidase assay (IPA) พบว่าคนปกติทั้งหมดให้ผลลบทั้งสองวิธี สำหรับผู้ป่วย 30 ราย ให้ผลบวกจำนวน 26 ราย และผลลบ 4 ราย ผลการตรวจ ANA ของทั้งสองวิธี ในคนไข้ที่ให้ผลบวกมีรูปแบบของ PNA เหมือนกันและไตเตอร์ที่เท่ากัน ยกเว้นคนไข้หนึ่งราย อ่านผลเป็น homogeneous และ Spectkled (วิธีIFA) ส่วนวิธี (มีต่อ)

IPA อ่านผลเป็น homogeneous แต่ทั้งสองวิธีให้ผลไตเตอร์เท่ากัน (1:160) เมื่อเปรียบเทียบ ผลของความจำเพาะ (รูปแบบ ANA) และความไว (ไตเตอร์สุดท้าย) ของทั้งสองวิธีนั้น วิธี IPA สามารถที่จะใช้ในการตรวจวินิจฉัย และติดตามการรักษาโรคออโตอิมมูน โดยเฉพาะในโรค systemic lupus erythrematosus (SLE)