การศึกษาการใช้อุปกรณ์พยุงเอวในผู้ที่มีอาการปวดหลังจากการเสื่อมของกระดูกสันหลังส่วนเอว / (Record no. 1087)

MARC details
000 -LEADER
fixed length control field 03892nab a2200265 4500
001 - CONTROL NUMBER
control field vtls000001087
003 - CONTROL NUMBER IDENTIFIER
control field VRT
005 - DATE AND TIME OF LATEST TRANSACTION
control field 20231003150534.0
008 - FIXED-LENGTH DATA ELEMENTS--GENERAL INFORMATION
fixed length control field 120521 1999 th br 0 0tha d
035 ## - SYSTEM CONTROL NUMBER
System control number 0001-08860
039 #9 - LEVEL OF BIBLIOGRAPHIC CONTROL AND CODING DETAIL [OBSOLETE]
Level of rules in bibliographic description 201312191130
Level of effort used to assign nonsubject heading access points VLOAD
Level of effort used to assign subject headings 201310171020
Level of effort used to assign classification artcharaporn
Level of effort used to assign subject headings 201207042125
Level of effort used to assign classification VLOAD
-- 201205211711
-- VLOAD
040 ## - CATALOGING SOURCE
Original cataloging agency PBRU
090 ## - LOCALLY ASSIGNED LC-TYPE CALL NUMBER (OCLC); LOCAL CALL NUMBER (RLIN)
Classification number (OCLC) (R) ; Classification number, CALL (RLIN) (NR) INDEX
100 0# - MAIN ENTRY--PERSONAL NAME
Personal name พิมพ์อำไพ เวนเซล.
9 (RLIN) 2146
245 10 - TITLE STATEMENT
Title การศึกษาการใช้อุปกรณ์พยุงเอวในผู้ที่มีอาการปวดหลังจากการเสื่อมของกระดูกสันหลังส่วนเอว /
Statement of responsibility, etc. พิมพ์อำไพ เวนเซล
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. จุดประสงค์ของการศึกษานี้เพื่อศึกษาสาเหตุของอาการปวดหลังจากการเสื่อมของกระดูกสันหลังส่วนเอว และศึกษาผลของการใช้อุปกรณ์พยุงเอวในผู้ป่วย จำนวน 63 คน ที่มารักษาที่โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ ระหว่างปี พ.ศ 2538 ถึง พ.ศ 2539 อายุระหว่าง 22 - 74 ปีอายุเฉลี่ย 43 ปี ผลของการศึกษาครั้งนี้พบว่า อาการปวดหลังมี (มีต่อ)
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. สาเหตุจากหมอนรองกระดูกปลิ้น คิดเป็นร้อยละ 12.69 โรคของข้อต่อฟาเซ็ทร้อยละ 12.69 กระดูกสันหลังเคลื่อนไปข้างหน้า ร้อยละ 14.29 กระดูกสันหลังแคบจากกระดูกหรือเนื้อเยื่ออ่อนหนาตัวขึ้น ร้อยละ 25.39 และกระดูกสันหลังเสื่อม ร้อยละ 34.94 การใช้อุปกรณ์พยุงเอวได้ผลใน 3 ด้าน คือ การกำจัดการเคลื่อนไหวของกระดูกสันหลังการเพิ่ม (มีต่อ)
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. ความดันภายในช่องท้องและการลดแรงกดของหมอนรองกระดูก การเปรียบเทียบการใช้อุปกรณ์พยุงเอวและการไม่ใช้อุปกรณ์พยุงเอว ในด้านการจำกัดการเคลื่อนไหวและด้านการเพิ่มความดันภายในช่องท้องมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) ส่วนการลดแรงกดที่หมอนรองกระดูกสันหลังได้ผลในสาเหตุต่างๆ ดังกล่าว ยกเว้นในรายหมอนรองกระดูกปลิ้น
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element SCI-TECH.
9 (RLIN) 345
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element กระดูก
General subdivision โรค.
9 (RLIN) 275
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element กระดูกสันหลัง.
9 (RLIN) 486
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element ปวดหลัง
General subdivision วิจัย.
9 (RLIN) 2147
773 0# - HOST ITEM ENTRY
Title วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Related parts ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2542) หน้า 67-81
International Standard Serial Number 0858-4435
942 ## - ADDED ENTRY ELEMENTS (KOHA)
Koha item type Serials

No items available.