ความสัมพันธ์ของปริมาณการเข้าทำลาย ของศัตรูพืชต่อการพัฒนาของมังคุด / (Record no. 292)

MARC details
000 -LEADER
fixed length control field 05607nab a2200289 4500
001 - CONTROL NUMBER
control field vtls000000292
003 - CONTROL NUMBER IDENTIFIER
control field VRT
005 - DATE AND TIME OF LATEST TRANSACTION
control field 20231003150203.0
008 - FIXED-LENGTH DATA ELEMENTS--GENERAL INFORMATION
fixed length control field 120521 1991 th dr 0 0tha d
012 ## -
-- Journal
035 ## - SYSTEM CONTROL NUMBER
System control number 0000-29360
039 #9 - LEVEL OF BIBLIOGRAPHIC CONTROL AND CODING DETAIL [OBSOLETE]
Level of rules in bibliographic description 201312191117
Level of effort used to assign nonsubject heading access points VLOAD
Level of effort used to assign subject headings 201207042111
Level of effort used to assign classification VLOAD
-- 201205211706
-- VLOAD
040 ## - CATALOGING SOURCE
Original cataloging agency PBRU
090 ## - LOCALLY ASSIGNED LC-TYPE CALL NUMBER (OCLC); LOCAL CALL NUMBER (RLIN)
Classification number (OCLC) (R) ; Classification number, CALL (RLIN) (NR) INDEX
245 00 - TITLE STATEMENT
Title ความสัมพันธ์ของปริมาณการเข้าทำลาย ของศัตรูพืชต่อการพัฒนาของมังคุด /
Statement of responsibility, etc. เกรียงไกร จำเริญมา ... [และคนอื่นๆ]
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. การศึกษาระหว่าง ตุลาคม 2450 - สิงหาคม 2541 ที่สวนมังคุด ศูนย์วิจัยพืชสวน จันทบุรี ซึ่งหลังการ เก็บเกี่ยวผลผลิต ในปี 2540 แล้ว ได้เตรียมต้นมังคุด ให้มีความสมบูรณ์ พร้อมที่จะออกดอกออกผล ในปีต่อไป โดยเฉพาะมีการกระตุ้น ให้แตกใบ อ่อน อย่างพร้อมเพรียง โดยใช้ไทโอยูเรีย (มีต่อ)
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. เมื่อมังคุด มีการแตกใบอ่อน ในเดือนตุลาคม 2540 จึงเริ่มดำเนิน การทดลอง โดยวางแผนการทดลอง แบบ RCB มี 6 ซ้ำ 5กรรมวิธี คือ ไม่ตัดใบ ตัดใบอ่อนที่คลี่ เต็มที่แล้ว ในอัตรา 20 50 75 และ 100% ของพื้นที่ ใบอ่อนทั่วทั้งต้น (แทนการกัดกิน ของแมลง) โดยใช้มังคุดซ้ำละ 1 ต้น (มีต่อ)
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. บันทึกการพัฒนา ของยอดมังคุด ที่ถูกตัดใบอ่อน ซ้ำละ 300ยอด โดยแบ่งเป็นยอดที่ระดับ บน กลาง และล่าง ของทรงพุ่มระดับละ 100 ยอด ทำการสำรวจทุกๆ14 วัน ผลการศึกษาพบว่า มังคุดที่ถูกทำลาย โดยการตัดใบมากๆ จะมีการแตกใบอ่อน บ่อยครั้งเพื่อชดเชยใบ ที่ถูกที่ทำลายไป โดยเฉพาะเมื่อใบ ถูกทำลาย (มีต่อ)
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. โดยการตัดใบ 100% ระหว่างช่วง การศึกษามีการแตกใบอ่อน 4 ครั้ง ในเดือน ธันวาคม 2540 มกราคม มีนาคม และมิถุนายน 2541 พบแตกใบอ่อน 85.22,87.95,99.35, และ 85.42% ตามลำดับ ขณะที่ยอดซึ่ง ไม่ถูกทำลาย มีการแตกใบอ่อน 3ครั้ง ในอัตรา 2.29,83.80 และ 99.28 % ตามลำดับ ยอดที่ถูกทำลาย 100% ออกดอกสูงสุดเฉลี่ย 12.13% (มีต่อ)
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. และติดผลเฉลี่ย 1.33% แตกต่างทางสถิติ กับมังคุด ที่ไม่มีการตัดใบอ่อน ซึ่งออกดอกสูงสุดเฉลี่ย 33.75% และติดผลเฉลี่ย 20.44% ซึ่งผลโดยรวมแล้ว มังคุดที่ใบถูกทำลาย โดยการตัดใบ 25-100% มีการออกดอก และติดผลลดลง 15.87-21.66% และ16.44-19.11% ตามลำดับ (มีต่อ)
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. นอกจากนั้น ยังพบว่า การพัฒนาในด้าน การเจริญเติบโต ของผลมังคุด จะมีความสัมพันธ์ ในทางตรงกันข้าม กับปริมาณ ใบมังคุดที่ถูกทำลาย พบผลมังคุด จากต้นที่ใบ ถูกทำลายในอัตราสูงๆ จะมีผลเล็กลง โดยเฉลี่ย เมื่อใบถูกทำลาย 25-100% ผลจะมีน้ำหนัก ลดลง 11.49-20.28 กรัมต่อผล และ หลังการตัดใบอ่อน มังคุดทุกอัตรา ความเข้มของ แสงเหนือ และใต้ ทรงพุ่มมังคุดไม่แตกต่างกัน
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element มังคุด
General subdivision ศัตรูพืช.
9 (RLIN) 978
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element SCI-TECH.
9 (RLIN) 345
700 0# - ADDED ENTRY--PERSONAL NAME
Personal name เกรียงไกร จำเริญมา.
9 (RLIN) 979
773 0# - HOST ITEM ENTRY
Title กีฏและสัตววิทยา
Related parts ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มีนาคม 2452) หน้า 13 - 22
International Standard Serial Number 0125-3794
942 ## - ADDED ENTRY ELEMENTS (KOHA)
Koha item type Serials

No items available.