การศึกษาการรุกของน้ำเค็มในคลองอู่ตะเภาด้วยแบบจำลองคณิตศาสตร์แบบ 2 มิติ / (Record no. 385)

MARC details
000 -LEADER
fixed length control field 04130nab a2200241 4500
001 - CONTROL NUMBER
control field vtls000000385
003 - CONTROL NUMBER IDENTIFIER
control field VRT
005 - DATE AND TIME OF LATEST TRANSACTION
control field 20231003150229.0
008 - FIXED-LENGTH DATA ELEMENTS--GENERAL INFORMATION
fixed length control field 120521 2000 th qr 0 0tha d
012 ## -
-- Journal
035 ## - SYSTEM CONTROL NUMBER
System control number 0000-38660
039 #9 - LEVEL OF BIBLIOGRAPHIC CONTROL AND CODING DETAIL [OBSOLETE]
Level of rules in bibliographic description 201312191119
Level of effort used to assign nonsubject heading access points VLOAD
Level of effort used to assign subject headings 201207042113
Level of effort used to assign classification VLOAD
-- 201205211706
-- VLOAD
040 ## - CATALOGING SOURCE
Original cataloging agency PBRU
090 ## - LOCALLY ASSIGNED LC-TYPE CALL NUMBER (OCLC); LOCAL CALL NUMBER (RLIN)
Classification number (OCLC) (R) ; Classification number, CALL (RLIN) (NR) INDEX
100 0# - MAIN ENTRY--PERSONAL NAME
Personal name สมบูรณ์ พรพิเนตพงศ์.
9 (RLIN) 1126
245 10 - TITLE STATEMENT
Title การศึกษาการรุกของน้ำเค็มในคลองอู่ตะเภาด้วยแบบจำลองคณิตศาสตร์แบบ 2 มิติ /
Statement of responsibility, etc. สมบูรณ์ พรพิเนตพงศ์
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. แบบจำลองคณิตศาสตร์ทางอุทกศาสตร์และการเคลื่อนที่ของน้ำเค็มแบบ 2 มิติ ได้รับการพัฒนาและประยุกต์กับคลองอู่ตะเภาเพื่อศึกษากลไกการรุกของน้ำเค็มในคลองอู่ตะเภา ผลที่ได้จากการจำลองถูกนำไปเปรียบเทียบกับข้อมูลการสำรวจภาคสนามระหว่างเดือนเมษายน-สิงหาคม 2540 จากการศึกษาสภาพไว (sensitivity) พบว่าสัมประสิทธิ์การแพร่ของความเค็มมีค่าเท่ากับ 0.006 ม(2)/วินาที และการพัดพาเป็นกระบวนการสำคัญในการรุกของน้ำเค็ม และยังพบว่าความเค็มในคลองอู่ตะเภามีความไวต่อการเปลี่ยนแปลงความเค็มในทะเลสาบสงขลาและอัตราการไหลของน้ำท่า (มีต่อ)
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. ผลการพยากรณ์ชี้ว่า ถ้าอัตราการไหลในฤดูแล้งมีค่าประมาณ 1 ลบ.ม/วินาที เป็นเวลาต่อเนื่องกัน 24 วัน น้ำเค็มสามารถรุกเข้าไปไกลถึง 23 กม.(อำเภอหาดใหญ่) และถ้าอัตราการไหลมากกว่า 5 ลบ.ม./วินาที คลองอู่ตะเภา มีแนวโน้มเป็นน้ำจืดตลอดสาย และจากการจำลองการเปลี่ยนแปลงความลึกของคลองอู่ตะเภาทำให้ทราบว่าการขุดลอกลำน้ำลงอึก 50% จะทำให้ความเค็มในคลองอู่ตะเภาเพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อย ในขณะที่ถ้าเกิดการตื้นเขินขึ้น 50% การรุกของน้ำเค็มจะลดลงอย่างมาก อย่างไรก็ตามแบบจำลองฯ ยังไม่สามารถอธิบายปรากฏการณ์แบ่งชั้นของความเค็มอย่างฉับพลันที่บริเวณกึ่งกลางความลึกได้ ซึ่งควรทำการศึกษาต่อไป
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element SCI-TECH.
9 (RLIN) 345
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element น้ำ
General subdivision วิจัย.
9 (RLIN) 1127
773 0# - HOST ITEM ENTRY
Title สงขลานครินทร์ ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Related parts ปีที่ 21 ฉบับที่ 4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2542) หน้า 473 - 482
International Standard Serial Number 0125-3395
942 ## - ADDED ENTRY ELEMENTS (KOHA)
Koha item type Serials

No items available.