การประเมินความเสียหายของผึ้งพันธุ์ เนื่องจากไรทรอปิเลแลปส์ และการป้องกันกำจัด / (Record no. 522)

MARC details
000 -LEADER
fixed length control field 04273nab a2200253 4500
001 - CONTROL NUMBER
control field vtls000000522
003 - CONTROL NUMBER IDENTIFIER
control field VRT
005 - DATE AND TIME OF LATEST TRANSACTION
control field 20231003150306.0
008 - FIXED-LENGTH DATA ELEMENTS--GENERAL INFORMATION
fixed length control field 120521 1999 th qr 0 0tha d
012 ## -
-- Journal
035 ## - SYSTEM CONTROL NUMBER
System control number 0000-52360
039 #9 - LEVEL OF BIBLIOGRAPHIC CONTROL AND CODING DETAIL [OBSOLETE]
Level of rules in bibliographic description 201312191121
Level of effort used to assign nonsubject heading access points VLOAD
Level of effort used to assign subject headings 201207042115
Level of effort used to assign classification VLOAD
-- 201205211707
-- VLOAD
040 ## - CATALOGING SOURCE
Original cataloging agency PBRU
090 ## - LOCALLY ASSIGNED LC-TYPE CALL NUMBER (OCLC); LOCAL CALL NUMBER (RLIN)
Classification number (OCLC) (R) ; Classification number, CALL (RLIN) (NR) INDEX
100 0# - MAIN ENTRY--PERSONAL NAME
Personal name ชุติกานต์ กิจประเสริฐ.
9 (RLIN) 1345
245 10 - TITLE STATEMENT
Title การประเมินความเสียหายของผึ้งพันธุ์ เนื่องจากไรทรอปิเลแลปส์ และการป้องกันกำจัด /
Statement of responsibility, etc. ชุติกานต์ กิจประเสริฐ
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. จากการศึกษาความเสียหายของผึ้งพันธุ์ เนื่องจากการเข้าทำลายของไรทรอปิเลแลปส์ พบว่าระดับความรุนแรงของการเข้าทำลายของไรมีผลต่อการลดลงของประชากรตัวเต็มวัย และตัวอ่อนผึ้งภายในรัง เมื่อระดับการเข้าทำลายมากกว่า 30% จะมีผลให้ผึ้งทั้งรังอ่อนแอลงอย่างรวดเร็วและเป็นเหตุให้ผึ้งทั้งรังตายได้ในระยะเวลาประมาณ 3เดือน หากรังผึ้งรังนั้นไม่ได้รับการป้องกันกำจัดไรศัตรูผึ้ง ผลของการป้องกันกำจัดไรทรอปิเลแลปส์โดยวิธีขังผึ้งแม่รังร่วมกับการใช้กรดฟอร์มิค 65% ให้ประสิทธิภาพในการป้องกันกำจัดไรได้ดีสามารถลดการเข้าทำลายของไรได้ภายในระยะเวลา 28 วัน (มีต่อ)
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. การหยุดชะงักระยะตัวอ่อนผึ้งภายในรังชั่วคราวจะมีผลทำให้ไรทรอปิเลแลปส์อยู่ในสภาพขาดอาหาร และมีชีวิตอยู่ได้ประมาณ 2-3วัน หลังจากที่ทำการป้องกันกำจัดไรโดยใช้วิธีนี้ผึ้งจะต้องใช้เวลาอีกระยะหนึ่งในการเพิ่มประชากรตัวเต็มวัย และตัวอ่อน ดังนั้นควรกระทำในบริเวณเลี้ยงผึ้งที่มีพืชอาหารที่ให้เกสรและน้ำหวานแก่ผึ้งอย่างสมบูรณ์ ซึ่งจะมีส่วนช่วยทำให้ผึ้งฟื้นตัวเร็วขึ้น การหยุดระยะตัวอ่อนผึ้งภายในรังชั่วคราว นอกจากวิธีการขังผึ้งแม่รังแล้ว การเปลี่ยนผึ้งแม่รังภายในรัง ซึ่งผู้เลี้ยงผึ้งปฏิบัติอยู่ทุก 1-2ปี เป็นอีกช่วงที่เหมาะสำหรับทำการป้องกันกำจัดไรทรอปิเลแลปส์
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element SCI-TECH.
9 (RLIN) 345
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element ไรทรอปิเลแลปส์.
9 (RLIN) 1346
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element ผึ้ง.
9 (RLIN) 835
773 0# - HOST ITEM ENTRY
Title กีฏและสัตววิทยา
Related parts ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม-กันยายน 2542) หน้า 157 - 166
International Standard Serial Number 0125-3794
942 ## - ADDED ENTRY ELEMENTS (KOHA)
Koha item type Serials

No items available.