การศึกษาสารสีแดงและซิตรินินในข้าวแดงที่เตรียมจากข้าวไทย

By: เอมอร ไชยโรจน์Contributor(s): ปนัดดา จันทร์เนย | เกรียงศักดิ์ ไชยโรจน์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ส่งเสริมงานวิจัยและทรัพย์สินทางปัญญาCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleLanguage: Thai Summary language: thaeng Publisher: 2555 ISSN: 0125-278xOther title: Study on Red Pigment and Citrinin Present in Red Yeast Rice Prepared from Thai RiceSubject(s): ข้าวแดง | ซิตรินิน In: วิจัยและพัฒนา มจธ ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มีนาคม 2555) หน้า 43-54Summary: งานวิจัยนี้เตรียมข้าวแดงโดยการหมักข้าวไทยชนิดต่างๆ โดยเฉพาะพันธุ์ที่รู้จักกันดีได้แก่ ข้าวเหนียว ข้าว กข6(RD6) และสันป่าตอง 1(SPT1) ข้าวเหนียวสีม่วงหรือข้าวก่ำ (Kam) รวมทั้งข้าวจ้าวหอมมะลิ(Mali 105) โดยใช้เชื้อราโมแนสคัสเพอพิวเรียส COU 001 และศึกษาผลของสารอาหารต่างๆ เช่น น้ำนมถั่วเหลืองที่เติมลงไปในการเพาะเลี้ยงเพื่อเป็นแหล่งของกรดอะมิโน จากนั้นจึงศึกษาข้าวแดงที่ได้ในแง่ของความเข้มข้นของสารสีแดง ผลที่ได้แสดงออกให้เห็นว่า สีแดงมีความเข้มข้นสูงสุดในกรณีการเพาะเลี้ยงบนข้าว กข6(RD6) เป็นเวลา 3 สัปดาห์โดยไม่เติมน้ำนมถั่วเหลือง ในทารตรงกันข้าม หากเติมน้ำนมถั่วเหลือง พบว่าสีแดงจะเข้มข้นที่สุดภายใน 2 สัปดาห์เท่านั้น ในส่วนการวิเคราะห์ปริมาณซิตรินิน พบว่าซิตรินินมีปริมาณสูงสุดเมื่อเพาะเลี้ยงบนข้าวสันป่าตอง1(SPT1) เป็นเวลา 2 สัปดาห์ ข้าวแดงที่มีซิตรินินต่ำเป็นกลุ่มข้าวเหนียวกข6(RD6) ที่เวลา 3 สัปดาห์ และเติมน้ำนมถั่วเหลือง
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

งานวิจัยนี้เตรียมข้าวแดงโดยการหมักข้าวไทยชนิดต่างๆ โดยเฉพาะพันธุ์ที่รู้จักกันดีได้แก่ ข้าวเหนียว ข้าว กข6(RD6) และสันป่าตอง 1(SPT1) ข้าวเหนียวสีม่วงหรือข้าวก่ำ (Kam) รวมทั้งข้าวจ้าวหอมมะลิ(Mali 105) โดยใช้เชื้อราโมแนสคัสเพอพิวเรียส COU 001 และศึกษาผลของสารอาหารต่างๆ เช่น น้ำนมถั่วเหลืองที่เติมลงไปในการเพาะเลี้ยงเพื่อเป็นแหล่งของกรดอะมิโน จากนั้นจึงศึกษาข้าวแดงที่ได้ในแง่ของความเข้มข้นของสารสีแดง ผลที่ได้แสดงออกให้เห็นว่า สีแดงมีความเข้มข้นสูงสุดในกรณีการเพาะเลี้ยงบนข้าว กข6(RD6) เป็นเวลา 3 สัปดาห์โดยไม่เติมน้ำนมถั่วเหลือง ในทารตรงกันข้าม หากเติมน้ำนมถั่วเหลือง พบว่าสีแดงจะเข้มข้นที่สุดภายใน 2 สัปดาห์เท่านั้น ในส่วนการวิเคราะห์ปริมาณซิตรินิน พบว่าซิตรินินมีปริมาณสูงสุดเมื่อเพาะเลี้ยงบนข้าวสันป่าตอง1(SPT1) เป็นเวลา 2 สัปดาห์ ข้าวแดงที่มีซิตรินินต่ำเป็นกลุ่มข้าวเหนียวกข6(RD6) ที่เวลา 3 สัปดาห์ และเติมน้ำนมถั่วเหลือง

บทความภาษาไทย ; บทคัดย่อภาษาไทยและภาษาอังกฤษ