การพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ โดยใช้ฉากทัศน์เป็นฐาน วิชาภูมิศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 วิทยาลัยนาฏศิลป / ปิยะบุตร ถิ่นถา

By: ปิยะบุตร ถิ่นถาCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์Genre/Form: การจัดการเรียนรู้ Online resources: บทความฉบับเต็มภาษาไทย In: มนุษยสังคมปริทัศน์ ปีที่ 24 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2565) หน้า 95-109Summary: การจัดการเรียนรู้วิชาภูมิศาสตร์มักจะเน้นการบรรยาย ขาดการกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ จากการสัมภาษณ์ครูผู้สอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิทยาลัยนาฏศิลป สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ หลายท่านทำให้ได้มุมมองและข้อคิดเห็นที่ตรงกันว่าการจัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โดยเฉพาะในวิชาภูมิศาสตร์ ผู้เรียนไม่ค่อยให้ความสำคัญและความสนใจเท่าที่ควร การเรียนการสอนที่เน้นเรียนรู้ผ่านการทำแบบฝึกหัดเป็นประจำ ทำให้ผู้เรียนไม่มีโอกาสได้เผชิญหน้ากับปัญหาที่ก่อให้เกิดการแก้ปัญหาด้วยตนเอง ยังขาดความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ซึ่งเป็นสิ่งที่ทางวิทยาลัยนาฏศิลปพยายามผลักดัน เสริมสร้างและพัฒนามาโดยตลอด
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

การจัดการเรียนรู้วิชาภูมิศาสตร์มักจะเน้นการบรรยาย ขาดการกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ จากการสัมภาษณ์ครูผู้สอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิทยาลัยนาฏศิลป สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ หลายท่านทำให้ได้มุมมองและข้อคิดเห็นที่ตรงกันว่าการจัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โดยเฉพาะในวิชาภูมิศาสตร์ ผู้เรียนไม่ค่อยให้ความสำคัญและความสนใจเท่าที่ควร การเรียนการสอนที่เน้นเรียนรู้ผ่านการทำแบบฝึกหัดเป็นประจำ ทำให้ผู้เรียนไม่มีโอกาสได้เผชิญหน้ากับปัญหาที่ก่อให้เกิดการแก้ปัญหาด้วยตนเอง ยังขาดความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ซึ่งเป็นสิ่งที่ทางวิทยาลัยนาฏศิลปพยายามผลักดัน เสริมสร้างและพัฒนามาโดยตลอด